ใบความรู้ที่ 1
เรื่อง
การสร้างฐานข้อมูลและตาราง
การสร้างฐานข้อมูลขึ้นมาใช้งานนั้นสามารถสร้างได้ 2 วิธี คือ
การสร้างฐานข้อมูลใหม่
การสร้างตารางข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
ประเภท |
ขนาด |
ความหมาย |
Text |
สูงสุด
255 ตัวอักษร |
ตัวอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมายต่างๆ |
Memo |
สูงสุด
65,635 ตัวอักษร |
ตัวหนังสือ
หรือตัวเลขที่เป็นคำอธิบาย |
Number |
1
8 ไบท์ |
ข้อมูลตัวเลขทั้งจำนวนเต็ม
หรือทศนิยม
|
Date/Time |
8
ไบท์ |
วันที่และเวลาซึ่งมีรูปแบบการแสดงผลหลายแบบ
และสามารถกำหนดแบบของการแสดงผลเองได้ |
Currency |
8
ไบท์ |
เก็บข้อมูลที่เป็นจำนวนเงิน
เพื่อป้องกันเรื่องการปัดเศษทศนิยม |
Auto
Number |
4
Byte |
กำหนดตัวเลขที่เรียงลำดับต่อเนื่องกันโดยอัตโนมัติ
โดยโปรแกรม |
Yes/No |
1
บิท |
เก็บข้อมูลในรูปที่เป็นได้ 2 อย่าง |
OLE
Object |
1
GB |
เก็บข้อมูลที่ถูกสร้างโดยโปรแกรมอื่น
เช่น รูปภาพ เป็นต้น |
Hyperlink |
สูงสุด 2,048 ตัวอักษร |
จุด Link
ต่างๆ |
Lookup
Wizard |
4
ไบท์ |
ข้อมูลที่เลือกจากตารางอื่นๆ
ที่สัมพันธ์กัน |
Attachment |
|
เก็บข้อมูลที่เป็นรูปภาพ |
ใบความรู้ที่ 3
เรื่อง ตารางข้อมูล
สร้างตารางใหม่ด้วยมุมมองออกแบบ
(Design View) |
||||||||||||||||
1. คลิกเลือกแทบ
สร้าง(Create)
3. พิมพ์ชื่อฟิลด์
productID |
||||||||||||||||
คุณสมบัติของแต่ละ Field (Field Properties)
|
||||||||||||||||
ประโยชน์ Primary Key |
||||||||||||||||
1. ป้องกันการป้อนข้อมูลที่ซ้ำกัน |
||||||||||||||||
|
||||||||||||||||
สร้างคีย์ให้กับตาราง |
||||||||||||||||
คีย์หลัก (Primary Key) เป็นการกำหนดให้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่งจะต้องไม่มีข้อมูลซ้ำกัน
โดยมีขั้นตอนดังนี้ |
||||||||||||||||
|
||||||||||||||||
การบันทึกตาราง |
||||||||||||||||
|
||||||||||||||||
|
||||||||||||||||
การใส่วันที่โดยใช้ปฏิทิน |
||||||||||||||||
|
||||||||||||||||
|
||||||||||||||||
|
||||||||||||||||
การใช้ฟังก์ชัน |
||||||||||||||||
|
||||||||||||||||
|
||||||||||||||||
|
||||||||||||||||
ตัวอย่าง
|
||||||||||||||||
ตัวอย่าง ผลการตรวจสอบเมื่อป้อนข้อมูลไม่ถูกต้อง |
ใบความรู้ที่ 4
เรื่อง
การจัดการข้อมูลด้วยคิวรี
|
||||||||||||
ประโยชน์ของ Query
การสร้างคิวรีโดยใช้ตัวช่วย
ตัวอย่าง สร้างคิวรีในมุมมองออกแบบ
Query Design
ตัวอย่าง คิวรี การบันทึกคิวรี
ตัวอย่างการกำหนดเงื่อนไขใน Query เพื่อค้นหาข้อมูลที่ต้องการ
แบบที่ 2 ให้แสดงรายชื่อสินค้าที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร
S
แบบที่ 3 ให้แสดงรายชื่อสินค้าที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร
S และอยู่ในประเทสินค้า Seafood
แบบที่ 4 แสดงรายชื่อสินค้าที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร
S หรือสินค้าประเภท Beverages
แบบที่ 5 แสดงประเภทสินค้า Seafood
หรือ Beverages แบบที่ 6 สร้างเงื่อนไขข้อมูลประเภทตัวเลข
เครื่องหมายเปรียบเทียบที่สามารถใช้ได้
Between 1 and 3 แสดงค่าตั้งแต่ 1 ถึง 3 การสร้างเงื่อนไขแบบมีพารามิเตอร์
หมายเหตุ กรณีที่เราไม่สามารถจำชื่อเต็มที่จะใช้เป็นเงื่อนไขได้ เช่น
ต้องการหาสินค้าที่อยู่ในหมวดหมู่ของ คอมพิวเตอร์ แต่จำไม่ได้ว่าสะกดอย่างไร
จึงอยากจะพิมพ์ ค* แต่ถ้าเป็น Parameter จะพิมพ์ไม่ได้
นอกจากใน Design Query จะต้องใส่ Like หน้า Parameter นั้นๆ เช่น Like [ป้อนประเภทของหนังสือ] |
ใบความรู้ที่ 5
เรื่อง การสร้างฟอร์ม
ประเภทของฟอร์ม แบ่งออกเป็น 6 ชนิด 1.
ฟอร์มสำหรับป้อนข้อมูล 2.
ฟอร์มแบบกำหนดเอง 3.
ฟอร์มแบบแผ่นตารางข้อมูล 4.
Main
/ Sub forms 5.
Pivot
Table Forms 6.
Pivot
Chart Forms มุมมองของฟอร์ม 1.
มุมมองเค้าโครง (Layout
View) 2.
มุมมองการออกแบบ (Design View) 3.
มุมมองฟอร์ม (Form
View การสร้างฟอร์มทำได้ 3 วิธี คือ 1.
การสร้างฟอร์มด้วยเครื่องมือช่วยสร้างฟอร์ม 2.
การสร้างด้วยตัวช่วยสร้าง 3.
การสร้างฟอร์มขึ้นเองด้วยมุมมองออกแบบ การสร้างฟอร์มเดี่ยว 1.
เลือกตารางหรือแบบสอบถามที่ต้องการสร้างฟอร์ม 2.
คลิกเลือก สร้าง (Create) 3.
เลือกไอคอน Form 4.
บันทึกฟอร์ม การบันทึกฟอร์ม
การสร้างฟอร์มแยก
การสร้างฟอร์มด้วยตัวช่วยสร้าง( Form Wizard)
ตัวอย่างฟอร์ม |
|
****************************** |
ใบความรู้ที่ 6
เรื่อง
การสร้างฟอร์มในมุมมองออกแบบ
ส่วนประกอบของตัวฟอร์ม Design View ประกอบด้วย 5 ส่วน คือ
การสร้างฟอร์มด้วยมุมมองออกแบบอย่างง่าย
ส่วนประกอบของฟิลด์
การสลับเปลี่ยนมุมมอง
การกำหนดคุณสมบัติของคอนโทรล (Property)
Format :
ใช้กำหนดคุณสมบัติเกี่ยวกับรูปแบบการแสดงผลของคอนโทรล สรุปขั้นตอนการสร้างฟอร์ม
|
|
************************** |
ใบความรู้ที่ 7
เรื่อง การสร้างรายงาน
ประเภทของรายงาน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ |
มุมมองของรายงาน
การสร้างรายงาน
|
การสร้างรายงานด้วยปุ่มคำสั่งรายงาน Report
|
การสร้างรายงานเปล่าในมุมมองเค้าโครง (Layout View) คลิกที่แท็บ สร้าง(Create) คลิกไอคอนคำสั่ง
รายงานเปล่า (Bank Report)
การบันทึกรายงาน
|
การสร้างรายงานด้วยตัวช่วยสร้าง (Report Wizard)
8. คลิกปุ่ม
ถัดไป (Next)
9. เลือกรูปแบบเค้าโครงและรูปแบบการวาง
คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)
10. เลือกรูปแบบ
คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)
11.ตั้งชื่อรายงาน
rpt_product
ตัวอย่าง รายงานสินค้า |
การสร้างรายงานแบบลาเบล (Label
Wizard) |
|
|